[POLL] นอนกรน เสี่ยงต่อการเป็นโรคภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับ และอันตรายต่อร่างกาย ถึงชีวิต จริง

นอนกรน เสี่ยงต่อการเป็นโรคภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับ และอันตรายต่อร่างกาย ถึงชีวิต จริง

เชื่อ

{{vote_1_percent}}%

ไม่เชื่อ

{{vote_2_percent}}%

คลิกเพื่อโหวตคำตอบของคุณเลย!

ENG ไทย Toggle navigation หน้าแรกมีเดียบทความสุขภาพนอนกรน เสี่ยงภาวะหยุดหายใจขณะหลับ นอนกรน เสี่ยงภาวะหยุดหายใจขณะหลับ August 10 / 2022 นอนกรน เสี่ยงภาวะหยุดหายใจขณะหลับ นอนกรน (Snoring) คือ ภาวะที่มีเสียงผิดปกติเกิดขึ้นระหว่างหายใจในขณะนอนหลับ เกิดขึ้นจากการถูกปิดกั้นของทางเดินหายใจส่วนบนบางส่วน และจะกรนดังมากขึ้นเมื่ออยู่ในท่านอนหงาย การนอนกรนที่มีอาการไม่รุนแรงสามารถบรรเทาลงได้ด้วยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เช่น นอนตะแคง หลีกเลี่ยงการดื่มแอลกอฮอล์ก่อนเข้านอน โดยการนอนกรน ส่งผลต่อทั้งสุขภาพของผู้ที่นอนกรนเอง และรบกวนบุคคลที่นอนข้าง ๆ นอนกรน พบได้มากในเพศชาย และจะมีอาการหนักขึ้นเมื่ออายุมากขึ้น นอนกรนเกิดจากอะไร เกิดจากการหย่อนตัวของกล้ามเนื้อบริเวณคอหอย และผนังลำคอขณะหลับ ทำให้เกิดการอุดกั้นระบบทางเดินหายใจในบางจุดจนเกิดการสั่นสะเทือนของกล้ามเนื้อ เนื้อเยื่อ เพดานอ่อน ผนังคอหอย โคนลิ้น รวมไปถึงลิ้นไก่ เมื่อระบบทางเดินหายใจแคบลงการหายใจผ่านบริเวณดังกล่าวจึงทำให้เกิดเสียงกลายเป็นการนอนกรนในที่สุด นอกจากนี้ยังสามารถรุนแรงต่อการหายใจทำให้ไม่สามารถหายใจได้ชั่วขณะหนึ่งหรือเรียกว่า “ภาวะหยุดหายใจขณะหลับ” ใครบ้างที่มีความเสี่ยงกับอาการนอนกรน อาการนอนกรน และภาวะหยุดหายใจขณะหลับ เกิดจากปัจจัยเสี่ยงหลายประการ ได้แก่ น้ำหนักเกิน พบว่าผู้ที่มีน้ำหนักมากจะมีทางเดินหายใจส่วนบนแคบกว่าผู้ที่มีน้ำหนักอยู่ในเกณฑ์ปกติ มีอาการของโรคภูมิแพ้บริเวณจมูก มีสันจมูกเบี้ยวหรือคด รูปหน้าหรือคางผิดปกติ เช่น คางเล็ก คางหลุบ ต่อมทอนซิลโตขวางทางเดินหายใจ ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ สูบบุหรี่เป็นประจำ การรับประทานยาที่ทำให้เกิดอาการง่วง เช่น ยาแก้แพ้ ยานอนหลับ ยาคลายเครียด ผู้ชายมีโอกาสนอนกรนมากกว่าผู้หญิง 6-10 เท่า ผู้หญิงจะมีอาการนอนกรนเพิ่มขึ้นเมื่อเข้าวัยหมดประจำเดือน ความรุนแรงของการนอนกรน แบ่งได้ 3 ระดับ ความรุนแรงระดับ 1 คือ การนอนกรนทั่วไป ไม่บ่อย และมีเสียงไม่ดังมาก การนอนกรนในระดับนี้ยังไม่ส่งผลต่อการหยุดหายใจในขณะนอนหลับ แต่อาจส่งผลกระทบต่อความสัมพันธ์ของบุคคลที่นอนข้าง ๆ ความรุนแรงระดับ 2 คือ การนอนกรนที่เกิดขึ้นบ่อย หรือมากกว่า 3 วันต่อสัปดาห์ การนอนกรนในระดับนี้อาจส่งผลต่อการหายใจในระดับน้อยถึงปานกลางในขณะนอนหลับ และส่งผลให้รู้สึกง่วงและเหนื่อยในเวลากลางวัน ความรุนแรงระดับ 3 คือ การนอนกรนเป็นประจำทุกวันและมีเสียงดัง การนอนกรนในระดับนี้มักเกิดภาวะหยุดหายในขณะหลับร่วมด้วย อาจทำให้ทางเดินหายใจถูกปิดกั้นบางส่วนหรือทั้งหมดเป็นเวลาประมาณ 10 วินาที ส่งผลให้ออกซิเจนไปเลี้ยงสมองไม่เพียงพอและส่งผลต่อการใช้ชีวิตประจำวัน การรักษาอาการนอนกรน เบื้องต้นแพทย์จะแนะนำให้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สำหรับผู้ที่นอนกรนในระดับที่ไม่รุนแรง เช่น ลดน้ำหนัก หลีกเลี่ยงการดื่มแอลกอฮอล์โดยเฉพาะในช่วงเวลาก่อนเข้านอน เปลี่ยนท่านอนจากนอนหงายเป็นนอนตะแคง เป็นต้น ส่วนผู้ที่นอนกรนในระดับรุนแรงหรือมีสาเหตุการกรนมาจากภาวะหยุดหายใจขณะหลับ แพทย์อาจมีแนวทางในการรักษาดังต่อไปนี้ การใช้อุปกรณ์ช่วยลดการนอนกรน จะใช้ในกรณีที่ไม่สามารถบรรเทาการนอนกรนได้ด้วยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การผ่าตัด จะใช้ในกรณีที่ไม่สามารถบรรเทาการนอนกรนได้ด้วยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือการใช้อุปกรณ์ช่วยลดการนอนกรนได้ การใช้ยา เพื่อรักษาที่ต้นเหตุของการนอนกรน เช่น ยาต้านฮีสตามีน ในการบรรเทาอาการบวมและระคายเคืองในจมูกของโรคจมูกอักเสบจากภูมิแพ้ หรือยาแก้คัดจมูก แต่ไม่ควรใช้ต่อเนื่องนานเกิน 7 วัน เพราะอาจทำให้อาการแย่ลงได้

ENG ไทย Toggle navigation หน้าแรกมีเดียบทความสุขภาพนอนกรน เสี่ยงภาวะหยุดหายใจขณะหลับ นอนกรน เสี่ยงภาวะหยุดหายใจขณะหลับ August 10 / 2022 นอนกรน เสี่ยงภาวะหยุดหายใจขณะหลับ นอนกรน (Snoring) คือ ภาวะที่มีเสียงผิดปกติเกิดขึ้นระหว่างหายใจในขณะนอนหลับ เกิดขึ้นจากการถูกปิดกั้นของทางเดินหายใจส่วนบนบางส่วน และจะกรนดังมากขึ้นเมื่ออยู่ในท่านอนหงาย การนอนกรนที่มีอาการไม่รุนแรงสามารถบรรเทาลงได้ด้วยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เช่น นอนตะแคง หลีกเลี่ยงการดื่มแอลกอฮอล์ก่อนเข้านอน โดยการนอนกรน ส่งผลต่อทั้งสุขภาพของผู้ที่นอนกรนเอง และรบกวนบุคคลที่นอนข้าง ๆ นอนกรน พบได้มากในเพศชาย และจะมีอาการหนักขึ้นเมื่ออายุมากขึ้น นอนกรนเกิดจากอะไร เกิดจากการหย่อนตัวของกล้ามเนื้อบริเวณคอหอย และผนังลำคอขณะหลับ ทำให้เกิดการอุดกั้นระบบทางเดินหายใจในบางจุดจนเกิดการสั่นสะเทือนของกล้ามเนื้อ เนื้อเยื่อ เพดานอ่อน ผนังคอหอย โคนลิ้น รวมไปถึงลิ้นไก่ เมื่อระบบทางเดินหายใจแคบลงการหายใจผ่านบริเวณดังกล่าวจึงทำให้เกิดเสียงกลายเป็นการนอนกรนในที่สุด นอกจากนี้ยังสามารถรุนแรงต่อการหายใจทำให้ไม่สามารถหายใจได้ชั่วขณะหนึ่งหรือเรียกว่า “ภาวะหยุดหายใจขณะหลับ” ใครบ้างที่มีความเสี่ยงกับอาการนอนกรน อาการนอนกรน และภาวะหยุดหายใจขณะหลับ เกิดจากปัจจัยเสี่ยงหลายประการ ได้แก่ น้ำหนักเกิน พบว่าผู้ที่มีน้ำหนักมากจะมีทางเดินหายใจส่วนบนแคบกว่าผู้ที่มีน้ำหนักอยู่ในเกณฑ์ปกติ มีอาการของโรคภูมิแพ้บริเวณจมูก มีสันจมูกเบี้ยวหรือคด รูปหน้าหรือคางผิดปกติ เช่น คางเล็ก คางหลุบ ต่อมทอนซิลโตขวางทางเดินหายใจ ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ สูบบุหรี่เป็นประจำ การรับประทานยาที่ทำให้เกิดอาการง่วง เช่น ยาแก้แพ้ ยานอนหลับ ยาคลายเครียด ผู้ชายมีโอกาสนอนกรนมากกว่าผู้หญิง 6-10 เท่า ผู้หญิงจะมีอาการนอนกรนเพิ่มขึ้นเมื่อเข้าวัยหมดประจำเดือน ความรุนแรงของการนอนกรน แบ่งได้ 3 ระดับ ความรุนแรงระดับ 1 คือ การนอนกรนทั่วไป ไม่บ่อย และมีเสียงไม่ดังมาก การนอนกรนในระดับนี้ยังไม่ส่งผลต่อการหยุดหายใจในขณะนอนหลับ แต่อาจส่งผลกระทบต่อความสัมพันธ์ของบุคคลที่นอนข้าง ๆ ความรุนแรงระดับ 2 คือ การนอนกรนที่เกิดขึ้นบ่อย หรือมากกว่า 3 วันต่อสัปดาห์ การนอนกรนในระดับนี้อาจส่งผลต่อการหายใจในระดับน้อยถึงปานกลางในขณะนอนหลับ และส่งผลให้รู้สึกง่วงและเหนื่อยในเวลากลางวัน ความรุนแรงระดับ 3 คือ การนอนกรนเป็นประจำทุกวันและมีเสียงดัง การนอนกรนในระดับนี้มักเกิดภาวะหยุดหายในขณะหลับร่วมด้วย อาจทำให้ทางเดินหายใจถูกปิดกั้นบางส่วนหรือทั้งหมดเป็นเวลาประมาณ 10 วินาที ส่งผลให้ออกซิเจนไปเลี้ยงสมองไม่เพียงพอและส่งผลต่อการใช้ชีวิตประจำวัน การรักษาอาการนอนกรน เบื้องต้นแพทย์จะแนะนำให้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สำหรับผู้ที่นอนกรนในระดับที่ไม่รุนแรง เช่น ลดน้ำหนัก หลีกเลี่ยงการดื่มแอลกอฮอล์โดยเฉพาะในช่วงเวลาก่อนเข้านอน เปลี่ยนท่านอนจากนอนหงายเป็นนอนตะแคง เป็นต้น ส่วนผู้ที่นอนกรนในระดับรุนแรงหรือมีสาเหตุการกรนมาจากภาวะหยุดหายใจขณะหลับ แพทย์อาจมีแนวทางในการรักษาดังต่อไปนี้ การใช้อุปกรณ์ช่วยลดการนอนกรน จะใช้ในกรณีที่ไม่สามารถบรรเทาการนอนกรนได้ด้วยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การผ่าตัด จะใช้ในกรณีที่ไม่สามารถบรรเทาการนอนกรนได้ด้วยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือการใช้อุปกรณ์ช่วยลดการนอนกรนได้ การใช้ยา เพื่อรักษาที่ต้นเหตุของการนอนกรน เช่น ยาต้านฮีสตามีน ในการบรรเทาอาการบวมและระคายเคืองในจมูกของโรคจมูกอักเสบจากภูมิแพ้ หรือยาแก้คัดจมูก แต่ไม่ควรใช้ต่อเนื่องนานเกิน 7 วัน เพราะอาจทำให้อาการแย่ลงได้

*โหวตได้เพียงครั้งเดียวและไม่สามารถเปลี่ยนคำตอบได้

healthy lifestyle

จาก กาญจนา อังควานิช อังควานิช

เรื่องราวจากฉัน

opinions
from health member

ความเห็นจากสมาชิกเฮลท์คลับ

UNIF HEALTH WALLET UNIF HEALTH WALLET UNIF HEALTH WALLET UNIF HEALTH WALLET UNIF HEALTH WALLET UNIF HEALTH WALLET UNIF HEALTH WALLET UNIF HEALTH WALLET UNIF HEALTH WALLET UNIF HEALTH WALLET UNIF HEALTH WALLET UNIF HEALTH WALLET

You may want
to vote this

โพลสุขภาพจากสมาชิกที่น่าสนใจ

แชร์เรื่องราว รับ      40 U-Points